ทำไมต้องหล่อรูปเหมือนเป็นทองคำแท้ในยุคเศรษฐกิจแบบนี้
ทำไมต้องหล่อรูปเหมือนเป็นทองคำแท้ ในเมื่อเศรษฐกิจไม่ดี? การหล่อพระด้วย “ทองคำ” เป็นเรื่องปกติหรือไม่? ทำไมนิยมนำทองคำหรือรัตนชาติแพง ๆ มาสร้างพระหรือเจดีย์ ถือเป็นสิ่งที่ถูกต้องแล้วหรือ? ทำไมต้องหล่อหลวงปู่วัดปากน้ำภาษีเจริญ? ทำไมต้องหล่อหลวงปู่องค์ที่ ๘ ในเมื่อหล่อมาตั้ง ๗ องค์แล้ว?
พุทธประเพณี : บวชพระ เดินธุดงค์ อบรมศีลธรรม
มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 26 ธันวาคม - 1 มกราคม 2558 ตีพิมพ์บทความประกอบภาพสีสวยงาม โครงการบวชพระแสนรูป ธุดงค์ธรรมชัย และเด็กดีวีสตาร์ ในหัวข้อ พุทธประเพณี : บวชพระ เดินธุดงค์ อบรมศีลธรรม
หลุดพ้นจากสังสารวัฏ
ท่านพิจารณาเห็นธาตุทั้งหลายว่าเป็นทุกข์แล้ว อย่าเกิดอีก ท่านสำรอกความพอใจในภพแล้ว จงเป็นผู้สงบระงับเที่ยวไปเถิด
พระราชภาวนาจารย์ (เผด็จ ทตฺตชีโว)
ประวัติพระราชภาวนาจารย์ (เผด็จ ทตฺตชีโว) ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง รองเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย อุปสมบทเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2514 ณ พัทธสีมา วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ
97 ปี วันครูผู้ค้นพบวิชชาธรรมกายพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร)
ย้อนไปเมื่อ พ.ศ. 2427 ตรงกับรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ณ ผืนดินรูปดอกบัว ที่แวดล้อมด้วยธารน้ำแห่งตำบลสองพี่น้อง อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี มีเด็กชายคนหนึ่ง ถือกำเนิดขึ้นในครอบครัวของพ่อค้าข้าวเด็กชายคนนี้ได้ชื่อว่า “สด มีแก้วน้อย....
DOU เปิด หลักสูตร “บูชาครูผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย”
หลักสูตร คือ สัมฤทธิบัตรพุทธศาสตรศึกษา(พุทธศาสตร์) วิชาที่เปิดสอน มี 2 วิชา 1.วิชาปฏิปทามหาปูชนียาจารย์ (GL 305) 2.วิชาศาสตร์แห่งสมาธิ (MD 101) คุณสมบัติผู้สมัคร 1.ไม่จำกัดอายุ เพศ วัย และเชื้อชาติ 2.ไม่จำกัดวุฒิการศึกษา
น้อมใจไว้ในพุทธองค์
เราได้เป็นพระราชาสมบูรณ์ด้วยรัตนะ ๗ ประการ เป็นใหญ่ในแว่นแคว้น ยินดียิ่งในกรรมของตน นี้เป็นผลแห่งการบูชาด้วยดอกไม้ ในกัปที่ ๙๑ แต่กัปนี้ เราโปรยดอกไม้ใด ด้วยกรรมนั้นเราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา ในกัปที่ ๘๐ เราได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ มียศอนันต์ สมบูรณ์ด้วยแก้ว ๗ ประการ เป็นใหญ่ในทวีปทั้ง ๔ ก็ด้วยอานุภาพแห่งพุทธบูชานั้น
2 เมษายน วันรักการอ่าน
2 เมษายน วันรักการอ่าน การอ่านมีความสำคัญอย่างไร การอ่านสร้างลูกให้อัจฉริยะได้จริงหรือ ทำอย่างไรให้เด็กมีนิสัยรักการอ่านแทนการติดทีวีติดเกมส์ รวมสารพัดเรื่องราวเกี่ยวกับการอ่านทั้งหมดที่นี่ที่เดียว . . .
ปุณณเศรษฐี ผู้ไถนาเป็นทอง
บุคคลควรกำจัดความตระหนี่อันเป็นสนิมในใจ ให้ทานเถิด เพราะบุญทั้งหลาย ย่อมเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลายในโลกหน้า
เมณฑกเศรษฐีผู้ใจบุญ (๗)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ถ้าว่าสัตว์ทั้งหลายพึงรู้ผลแห่งการจำแนกทานเหมือนอย่างที่เรารู้ไซร้ สัตว์ทั้งหลายยังไม่ให้แล้วจะไม่พึงบริโภค อนึ่ง ความตระหนี่อันเป็นมลทินจะไม่พึงครอบงำจิตของสัตว์เหล่านั้น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แต่เพราะสัตว์ทั้งหลายไม่รู้ผลแห่งการจำแนกทานเหมือนอย่างที่เรารู้ ฉะนั้น สัตว์ทั้งหลายจึงไม่ให้ แล้วบริโภคเสียเอง อนึ่ง ความตระหนี่อันเป็นมลทินจึงยังครอบงำจิตของสัตว์เหล่านั้น