ฉวชาดก ชาดกว่าด้วยการนั่งที่ไม่สมควร
ครั้งหนึ่งพวกภิกษุฉัพพัคคีย์นั้นได้รับกิจนิมนต์จากชาวบ้าน ครั้นเมื่อไปถึงเรือนของผู้นิมนต์แล้วก็นั่งอยู่ในที่ต่ำแสดงธรรมแก่ฆราวาสซึ่งนั่งอยู่ในที่สูงกว่า ด้วยเห็นว่าพวกตนได้รับการดูแลอย่างดีจากเจ้าของบ้าน ภิกษุรูปหนึ่งเห็นพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมนั้น จึงนำความไปกราบทูลพระพุทธองค์ทรงทราบ
ฆตบัณฑิตชาดก ชาดกว่าด้วยความดับความโศก
ณ บ้านหลังหนึ่งในเชตวัน สาวัตถี กุฎุมพีเจ้าของบ้านได้เกิดความเศร้าโศกเสียใจ เป็นอันมากเนื่องจากบุตรชายอันเป็นที่รักของเขาได้ตายจากไป ความเศร้าเสียใจของชายผู้นี้กินเวลาเนิ่นนาน วันเดือนปีจะผ่านพ้นไปเพียงใด เขาก็ยังไม่สามารถทำใจได้
กุลาวกชาดก ชาดกว่าด้วยการเสียสละ
พระศาสดาครั้นทรงแสดงพระธรรมเทศนาแล้ว ตรัสกับภิกษุว่า ดูก่อนภิกษุ บัณฑิตทั้งหลายในกาลก่อนครองราชย์สมบัติในเทวโลก ถึงจะสละชีวิตของตนก็ไม่กระทำปานาติบาตรด้วยประการดังนี้ เธอชื่อว่าบวชในศาสนาอันเป็นเครื่องนำออกจากทุกข์ เห็นปานนี้เหตุใดจักดื่มน้ำมีตัวสัตว์มิได้กรองเล่า
เมื่อโลกเข้าสู่ช่วงกัปไขลง
กัปไขขึ้น - ไขลงหมายความว่าอย่างไร ? ระยะเวลาของกัปยาวนานเพียงใด ? ถ้าอยากเกิดในยุคนั้นควรปฏิบัติตัวอย่างไร ? ..........
อานิสงส์บูชาสิ่งแทนพระพุทธองค์
“ดูกรอานนท์ สังเวชนียสถาน ๔ แห่งเหล่านี้ เป็นสถานที่ควรเห็นของกุลบุตรผู้มีศรัทธา สังเวชนียสถาน ๔ แห่ง คือ.....
คำสอนในพระพุทธศาสนาเถรวาท
มีข้อสังเกตเรื่องคำสอนที่ชาวพุทธเถรวาทเราควรตระหนักรู้ก็คือ
พิธีมุทิตาสักการะเปรียญธรรมประโยค 9, 6, 3 และบาลีศึกษา 9, 6 สำนักเรียนวัดพระธรรมกาย
พุทธศาสนิกชน แสดงความยินดี จัดมุทิตาสักการะเปรียญธรรมประโยค 9,6,3 และบาลีศึกษา 9,6 สำนักเรียนวัดพระธรรมกาย
เจ๋ง เก่ง แน่
การที่คนเก่งทำตัวเหมือนอวดความรู้ของตนสมควรหรือไม่? คนเราเวลาทำดีหรือมีความเก่งแล้ว จะอยากให้คนอื่นรู้ทุกคนไหม?
การอนุโมทนาและมุทิตาจิต
คำว่า “อนุโมทนาบุญ” มีความหมายอย่างไร? การที่เรามุทิตาจิตถือเป็นการอนุโมทนาบุญอย่างหนึ่งหรือไม่? สำหรับคนที่เราไม่ชอบ เราจะวางใจร่วมยินดีกับเขาอย่างไร? การมุทิตาหรืออนุโมทนาบุญมีผลต่อสภาวะใจของเราใช่ไหม?
รองรับพระธรรม น้อมนำถวาย
พระไตรปิฎกบาลีหรือพระบาลีเป็นคัมภีร์พระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทที่บันทึกคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในยุคแรกคำสอนของพระองค์เรียกโดยรวมว่าพระธรรมวินัย ต่อมาในภายหลังจึงแบ่งเนื้อหาออกเป็น ๓ หมวด คือ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎก